QR code
ชื่อศูนย์ฯ :
ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรตำบลขัวมุง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
สินค้าหลัก :
ลำไย
พื้นที่เป้าหมาย (ไร่) :
26,883
เกษตรกรเป้าหมาย (ราย) :
4,078
พิกัด X :
497872
พิกัด Y :
2063562
ชื่อเกษตรกรต้นแบบ :
นายเสน่ห์ ทะพิงค์แก
ที่อยู่เกษตรกรต้นแบบ :
90/1 หมู่ที่ 7 ตำบลขัวมุง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
สถานการณ์ของพื้นที่ :
พื้นที่ตำบลขัวมุงจัดเป็นพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจของอำเภอสารภี และเป็นพื้นที่ที่เหมาะสมกับการปลูกลำไย (S1) ซึ่งในปัจจุบันเกษตรกรกรตำบลขัวมุงประสบกับปัญหาการผลิตลำไยอยู่หลายปัจจัย เช่น สภาพดินฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลง, ปัญหาหารขาดแคลนแรงงานในช่วงฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลผลิตไม่สามารถคัดแยกผลผลิตที่มีคุณภาพเพื่อจำหน่ายแก่ผู้ประกอบการส่งออกลำไยสดได้ เกษตรกรขายผลผลิตในรูปลำไยร่วงทำให้ขายได้ในราคาต่ำ ดังนั้นจึงต้องมีการพัฒนาคุณภาพลำไยเพื่อช่วยลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิตลำไย
แนวทางการพัฒนา :
ปรับปรุงคุณภาพลำไย โดยการลดต้นทุนการผลิตด้านแรงงานในช่วงฤดูกาลเก็บเกี่ยว จากเดิมที่ต้องใช้แรงงานเก็บเกี่ยวต้นทุนสูง ต้องใช้ไม้ค้ำยันส่งผลให้สิ้นเปลืองต้นทุนการผลิต เป็นการใช้เทคโนโลยีการตัดแต่งกิ่ง และการปฏิบัติดูแลรักษาลำไย ทำให้สามารถลดต้นทุนการผลิตได้ประมาณ 75 เปอร์เซ็นต์ พร้อมทั้งการเพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตได้ประมาณ 85 เปอร์เซ็นต์ จากลำไยเกรด A เป็นเกรด AA หรือลำไยจัมโบ้ตรงตามมาตรฐานความต้องการของตลาด ซึ่งจะทำให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
เทคโนโลยีเด่นของศูนย์เรียนรู้ :
การใช้เทคโนโลยีในการปรับปรุงคุณภาพลำไย
หลักสูตรเรียนรู้ :
1. การผลิตลำไยคุณภาพ
2. การลดต้นทุนการผลิตลำไย
เครือข่าย :
1. กลุ่มผู้ปลูกลำไยคุณภาพ ตำบลท่ากว้าง, ตำบลสันทราย, ตำบลหนองแฝก, ตำบลดอนแก้ว,ตำบลชมภู, ตำบลสารภี, ตำบลท่าวังตาล,ตำบลป่าบง
2. สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
3. สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ (กรมวิชาการเกษตร)
4. องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ชื่อเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ :
นางสุมาลา บุญชัย
ตำแหน่ง จนท.ผู้รับผิดชอบ :
นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
หมายเลขโทรศัพท์ จนท.ผู้รับผิดชอบ :
089-5593070